Skip to main content
ยุกติ มุกดาวิจิตร
ในโลกนี้มีสังคมมากมายที่ไม่ได้นับว่าตนเองเป็นกลุ่มชนเดียวกัน และการแบ่งแยกความแตกต่างของกลุ่มคนนั้นก็ไม่ได้ทาบทับกันสนิทกับความเป็นประเทศชาติ ชาว Rohingya (ขอสงวนการเขียนด้วยอักษรโรมัน เพราะไม่เห็นด้วยกับการออกเสียงตามภาษาพม่า) ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของกลุ่มคนที่ไม่ได้มีขอบเขตพื้นที่ที่อาศัยครอบครองอยู่ทาบกันสนิทกับขอบเขตพื้นที่ประเทศใดประเทศหนึ่ง 
Shintaro Hara
ข้อเสนอจากราชบัณฑิตยสถานเกี่ยวกับชื่อเรียกของชาวมุสลิมจากประเทศพม่าที่รู้จักกันในนามว่า “โรฮิงญา” ให้เรียกเป็น “โรฮินจา” นั้น ได้รับความสนใ
ยุกติ มุกดาวิจิตร
กรณีการออกเสียงชื่อชาว Rohingya ว่าจะออกเสียงอย่างไรดี ผมก็เห็นใจราชบัณฑิตนะครับ เพราะเขามีหน้าที่ต้องให้คำตอบหน่วยงานของรัฐ แต่ผมไม่เห็นด้วยกับการออกเสียงให้ตายตัวเบ็ดเสร็จว่าควรจะออกเสียงอย่างไรกันแน่ ยิ่งอ้างว่าออกเสียงตามภาษาพม่ายิ่งไม่เห็นด้วย ตามเหตุผลดังนี้ครับ 
กวีประชาไท
“หรือโรฮิงยาไม่ใช่คน...” เป็นคำถามที่เจ็บปวดของชาวโรฮิงญาในไทยเอ่ยออกมาให้สื่อรับรู้ หลังจากพี่น้องของเขาต้องตากแดดลมฝนในเรือไม้ อาศัยลำเรือและคลื่นลมว่าจะพัดไปทางใด ชีวิตพวกเขาหนีมาจากรัฐอาระกันหนีจากความลำบาก อดอยากและถูกกลั่นแกล้งจากรัฐบาลทหารพม่ามาสารพัด ล่าสุด,กลสุลพม่าในฮ่องกง ได้แสดงความกักฬขะออกมาอย่างหน้าชื่นตาบานว่า“โรฮิงญาไม่ใช่คนพม่า คนเหล่านี้น่าเกลียดเหมือน ผีปอบ” ‘เรือไม้ ความจำนรรจ์ ดอกฝันโรฮิงยา’ ของ ‘วลัญชัย ทูนเปลว’ จึงถ่ายทอดออกมาเป็นบทกวีสะท้อนความรู้สึกเหล่านั้นออกมา ให้ชวนคิดต่อว่า ในท้ายสุด ชีวิตของโรฮิงญาจะล่องลอยไปสู่หนใด!?